หากคุณทำ web server ด้วย โดยใช้ Nginx มาเป็น Nginx มาเป็น Reverse Proxy แล้วส่งต่อไปยัง Apache

เพื่อให้ php นั้นทำงานกับ Apache

 

โดยเราะจะต้อง Config สิ่งต่างๆเพื่อให้รองรับการ Upload File เราด้วย

 

PHP

PHP.ini

เพิ่ม สิ่งเหล่านี้ลงไป เพื่อเป็นการบอกว่าเราจะอนุญาติให้อัพโหลดไฟล์ได้สูงสุดขนาดเท่าไหร่ และอนุญาติใช้ Mem ได้สูงสุดเท่าไหร่

Note : memory_limit >= post_max_size => upload_max_filesize

 

WordPress

บรรทัดแรกสุดของไฟล์ wp-config.php

จะเป็นการบอกว่า WordPress จะใช้ แรมได้สูงสุดเท่าไหร่

 

Nginx

สิ่งที่หลายคนอาจจะลืม ผมก็เช่นกัน คือการไปโฟกัสกับฝั่ง PHP จนลืมฝั่งของ Nginx ไป

เพิ่มเข้าไปยังไฟล์ /etc/nginx/nginx.conf หรือ /etc/nginx/sites-available/xxxx

 

Done. Happy;

 

หากจะทำ Rewrite URL หรือ การทำ permalinks ใน WordPress

หากใช้ Nginx เป็น reverse proxy

 

ดูให้ดี พ่วง ?$args; เพื่อรับ args ต่อท้าย Index.php ไปด้วย

 

หลังจากกระบวนการข้างบน  Request จะถึงส่งต่อไปยัง :8080 ซึ่งเราอาจจะรัน Apache ไว้ จริงๆไม่อาจจะหรอก รันเหอะ

ซึ่งสิ่งที่จะทำให้ Rewrite สำเร็จนั้นคือต้องมีไฟล์ .htaccess และ อย่าลืมเปิด Mod ใน Apache

 

.htaccess

 

Mod ของ Apache นั้นชื่อ “mod_rewrite”

วิธีการปรับ มีหลากหลายวิธีแต่ถ้าใช้ Ubuntu จัดการ

บรรทัดเดียวชีวิตจบ

 

จากนั้น Restart ทั้งสอง Service เพื่อความแฮปปี้

 

 

 

เย๊ เลิกปวดหัว  กับปัญหา 404 ของwordpress เวลาทำ permalinks ได้แล้ว!